HOME I หน้าแรก
นาวาแห่งความรอดพ้น ใน “ซอละวาต ชะบานียะฮ์”
- รายละเอียด
- หมวด: ครรลองจริยธรรม
- ฮิต: 1345
ในเนื้อหาส่วนหนึ่งของบท "ซอละวาต ชะอ์บานียะฮ์" ของท่านอิมามซัจญาด (อ.) อะฮ์ลุลบัยต์ (อ.) เปรียบเสมือนนาวาแห่งความปลอดภัยในท่ามกลางกระแสคลื่นที่โหมกระหน่ำ ผู้ใดก็ตามที่ขึ้นโดยสารมัน เขาก็จะปลอดภัย และผู้ใดก็ตามที่แยกตัวออกไปจากนาวานี้เขาก็จะจมน้ำตาย
เรื่องราวของพลังพิเศษของชาวชีอะห์ในยุคสุดท้ายในคำพูดของอิมามซัจญาด (อ.)
- รายละเอียด
- หมวด: มะฮ์ดะวียะฮ์-ผู้ที่ถูกรอคอย
- ฮิต: 31929
ขั้นตอนเบื้องต้นของการประทานพลังพิเศษของพระผู้เป็นเจ้าแก่ชาวชีอะอ์ในยุคแห่งการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของท่านอิมามมะฮ์ดี (อ.) คือการขจัดโรคภัยทางจิตวิญญาณและร่างกายออกไปจากพวกเขา
คุณลักษณะสองประการของท่านอับบาส ในคำพูดของท่านอิมามซอดิก (อ)
- รายละเอียด
- หมวด: ศาสดาและวงศ์วานผู้ทรงเกียรติ
- ฮิต: 10093
ท่านอับบาส (อ.) ไม่เคยหวั่นไหวในเส้นทางที่ท่านเลือก และท่านไม่เคยอ่อนแอ แต่ท่านยังคงเดินต่อไปในเส้นทางนี้ด้วยความเข้มแข็งมากขึ้น จวบจนกระทั่งเป็นชะฮีด และบรรลุตำแหน่งสูงสุดในสายพระเนตรของพระผู้เป็นเจ้าและอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.)
ความจำเป็นเร่งด่วนสำหรับ การกำจัดไซออไนซ์ ระดับโลก
- รายละเอียด
- หมวด: บทวิเคราะห์โลกมุสลิม
- ฮิต: 21577
วิธีแก้ปัญหาเดียวที่ยุติธรรมและใช้ได้ผลสำหรับปัญหาการยึดครองปาเลสไตน์ คือการยุติอาณานิคมไซออนิสต์ แต่ชาวปาเลสไตน์จะบรรลุความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ในการอยู่อย่างสันติร่วมกับไซออนิสต์ ผู้ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ได้อย่างไร เห็นได้ชัดว่า การกำจัดไซออไนซ์มีความจำเป็น แต่มันจะเกี่ยวข้องกับอะไร?
กลุ่มต่อต้านของชาวปาเลสไตน์มีชัยในฉนวนกาซา ขณะที่อิสราเอลและสหรัฐฯ หมดทางเลือก
- รายละเอียด
- หมวด: บทวิเคราะห์โลกมุสลิม
- ฮิต: 22645
คงไม่สมจริงเลยที่จะสังเกตเห็นสงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของอิสราเอลในฉนวนกาซาโดยไม่เข้าใจมิติทางยุทธศาสตร์ของฉนวนกาซา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะปัจจุบันของการต่อสู้เพื่ออิสรภาพจากการยึดครองของชาวปาเลสไตน์
รางวัลพิเศษที่พระผู้เป็นเจ้าทรงมอบให้ท่านอิมามฮุเซน (อ.)
- รายละเอียด
- หมวด: ศาสดาและวงศ์วานผู้ทรงเกียรติ
- ฮิต: 32574
รางวัลพิเศษของพระผู้เป็นเจ้าในโลกนี้ ที่จะไปถึงบรรดาผู้ประพฤติดีและปฏิบัติตนเป็นที่พึงพอพระทัยของพระองค์ ไม่มีการกระทำใดๆ เกิดขึ้นจากพระองค์โดยไร้เหตุผลและปราศจากสาเหตุ และความรักที่พระองค์มีต่อปวงบ่าวของพระองค์นั้นยิ่งใหญ่กว่า...
ภารกิจแห่งยุคสุดท้ายของศาสดา (ซ็อลฯ) จะเสร็จสมบูรณ์ด้วยการมาของอิมามมะฮ์ดี (อ.)
- รายละเอียด
- หมวด: มะฮ์ดะวียะฮ์-ผู้ที่ถูกรอคอย
- ฮิต: 30879
หนึ่งในภารกิจที่อัลลอฮ์ทรงอธิบายแก่ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) คือการปกครองและการชี้นำโลกและมนุษยชาติไปสู่อารยธรรมหนึ่ง ซึ่งจะแผ่ปกคลุมไปทั่วโลกในยุคสุดท้าย (อาคิรุซซะมาน)
เนทันยาฮูใช้วิธีการ 7 ต.ค. เพื่อเข้าร่วมสงครามครูเสด ที่เขาแสวงหาอยู่เสมอ
- รายละเอียด
- หมวด: บทวิเคราะห์โลกมุสลิม
- ฮิต: 23930
เจเรมี สคาฮิล ให้รายละเอียดว่า เนทันยาฮู เช่นเดียวกับอดีตประธานาธิบดีจอร์จ บุช ของสหรัฐฯ ใช้ประโยชน์จากปฏิบัติการต่อต้านของชาวปาเลสไตน์เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม เพื่อเป็นข้ออ้างในการ "เข้าร่วมสงครามครูเสด"
เรื่องราวการตอกย้ำพันธสัญญาของปวงศาสดากับท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อลฯ) ในคืนมิอ์รอจ
- รายละเอียด
- หมวด: ศาสดาและวงศ์วานผู้ทรงเกียรติ
- ฮิต: 16242
คำสอนอันลึกซึ้งประการหนึ่งของศาสนาอิสลามคือประเด็นเรื่องคำมั่นสัญญาและพันธสัญญาของมนุษย์ที่มีต่อคุณค่าต่างๆ แห่งพระเจ้า ซึ่งถูกกล่าวถึงในนามว่า วันแห่งพันธสัญญา หรือ «أَ لَسْتُ» (อะลัสตุ)
อิมรอน บินอับดุลมุฏฏอลิบ (อบูฏอลิบ) ผู้พิทักษ์ที่ยิ่งใหญ่ของอิสลาม
- รายละเอียด
- หมวด: วีรชนแห่งอิสลาม
- ฮิต: 1846
อิมรอน บินอับดุลมุฏฏอลิบ" รู้จักกันดีในนามว่า "อบูฏอลิบ" คือหัวหน้าเผ่าบนีฮาชิมและเป็นบิดาของท่านอมีรุ้ลมุอ์มินีน อะลี (อ.) ท่านและ "อับดุลลอฮ์" บิดาของท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อลฯ) ถือกำเนิดมาจากมารดาคนเดียวกัน ชื่อของท่านคือ “อิมรอน” และเนื่องจากบุตรชายคนโตของท่านคือ “ฏอลิบ” ประชาชนจึงเรียกท่านว่า “อบูฏอลิบ” (บิดาของฏอลิบ) หลังจากการเสียชีวิตของ “อับดุลมุฏฏอลิบ” บิดาของท่าน ท่านจึงได้รับผิดชอบการอุปการะเลี้ยงดูท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อลฯ)
มารยาทของการประกอบอาชีพ
- รายละเอียด
- หมวด: ครรลองจริยธรรม
- ฮิต: 1057
การประกอบอาชีพที่ต้องห้าม (ฮะรอม) จะทำให้อาหารที่ต้องห้าม (ฮะรอม) มาอยู่ในสำรับอาหารของเรา และสมาชิกในครอบครัวของเราจะต้องเผชิญกับผลที่ตามมาที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้และส่งผลในการทำลายล้างอย่างร้ายแรง
ปรัชญาของความอดทนในคำสอนของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ อัซซะฮ์รอ (อ.)
- รายละเอียด
- หมวด: ครรลองจริยธรรม
- ฮิต: 32751
คำสอนประการหนึ่งของอิสลามซึ่งได้ถูกแนะนำและกำชับไว้อย่างมากในคัมภีร์อัลกุรอาน และในหะดีษ (วจนะ) ของอะฮ์ลุลบัยติ์ (อ.) คือประเด็น "ความอดทน" ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ อัซซะฮ์รอ (อ.) ได้อธิบายถึงปรัชญาของความจำเป็นในการมีความอดทนไว้ในหะดีษ (วจนะ) บทหนึ่ง