HOME I หน้าแรก
การดำรงสภาพของการเคารพภักดีพระผู้เป็นเจ้าตลอดเวลา
- รายละเอียด
- หมวด: อัลกุรอาน-อัลฮะดิษ
- ฮิต: 2470
อิบาดะฮ์ (การนมัสการและการเคารพภักดีพระผู้เป็นเจ้า) ของผู้ถือศีลอดนั้น ก็คือการที่เขาจะอดทนต่อความยากลำบากของความหิวกระหาย เพื่อปฏิบัติตามคำสั่งของพระผู้เป็นเจ้า โดยที่เขาจะหลีกเลี่ยงจากอาหารทุกอย่างแม้แต่สิ่งที่เป็นที่อนุมัติ (ฮะล้าล) ในเดือนอื่นๆ จากเดือนรอมฎอน ดังนั้นเป็นไปได้อย่างไรที่เขาจะกินเนื้อพี่น้องของเขาที่ตายไปแล้ว!
แนวทางสำหรับการขัดเกลาตน เพื่อเสริมสร้างความยำเกรงพระผู้เป็นเจ้า (ตักวา)
- รายละเอียด
- หมวด: ครรลองจริยธรรม
- ฮิต: 3582
ในเดือนนี้ ผู้ถือศีลอดได้รับโอกาสที่จะทำให้ตักวา (ความยำเกรงพระผู้เป็นเจ้า) เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริงในชีวิตของเขา และหนึ่งในแนวทางที่จะได้มาซึ่งตักวานั้นก็คือ "มุฮาซะบะฮ์" มุฮาซะบะฮ์นั้นหมายถึง การตรวจสอบตนเอง หากเราพบว่าตนเองได้กระทำสิ่งต่างๆ ที่เป็นความดีแล้ว เราก็จะวิงวอนขอต่อพระผู้เป็นเจ้าให้เราประสบความสำเร็จที่จะดำเนินสิ่งนั้นต่อไป
การถือศีลอดที่ถูกยอมรับ
- รายละเอียด
- หมวด: ครรลองจริยธรรม
- ฮิต: 3396
"ความถูกต้อง" (เซี๊ยะห์หะฮ์) และ "การยอมรับ" (กอบูล) คือคำสองคำที่ถูกนำมาใช้งานในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอิบาดะฮ์ (การนมัสการและการเคารพภักดีต่อพระผู้เป็นเจ้า) มากที่สุด
ปรัชญาการถือศีลอด เป็นอะไรที่มากไปกว่าการเข้าใจถึงคนยากจน
- รายละเอียด
- หมวด: ครรลองจริยธรรม
- ฮิต: 1572
อีกมิติหนึ่งของการถือศีลอดนั้น เกี่ยวข้องกับด้านทางสังคม โดยที่ผู้ถือศีลอดจะรับรู้และเข้าใจถึงสภาพของบรรดาผู้ยากจนและคนขัดสนของสังคม ด้วยเหตุนี้เองจึงไม่มีใครสามารถที่จะอ้างได้ว่า ผมจะทำการช่วยเหลือคนยากจนเป็นเวลาหนึ่งเดือนเต็มแทนการถือศีลอดหนึ่งเดือนในเดือนรอมฎอน
จงพยายามทำตัวเองให้อยู่ในสายตาของอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.)
- รายละเอียด
- หมวด: มะฮ์ดะวียะฮ์-ผู้ที่ถูกรอคอย
- ฮิต: 31128
ความหวังของผู้ที่มีความรักและศรัทธาต่อท่านอิมามซะมาน (อ.ญ.) ทุกคนก็คือ วันหนึ่งจะได้เห็นท่านและจะทำให้ดวงตาของตนชื่นฉ่ำและหัวใจของตนเอิ่มเอมและปลื้มปิติจากสิ่งดังกล่าว ทว่า....
รอมฎอน สนามชิงชัยสู่ความพึงพอพระทัยของพระผู้เป็นเจ้า
- รายละเอียด
- หมวด: อัลกุรอาน-อัลฮะดิษ
- ฮิต: 1998
เดือนรอมฎอน เดือนแห่งการแข่งขันของบรรดาผู้ศรัทธา ใครก็ตามที่สามารถกระทำอิบาดะฮ์ (นมัสการและเคารพภักดี) พระผู้เป็นเจ้าได้ดีกว่า และมีความบริสุทธิ์ใจมากกว่า เขาก็จะได้รับความพึงพอพระทัยของพระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงสูงส่งมากกว่า.....
โอกาสที่ดีที่สุดสำหรับการขออภัยโทษ! ในเดือนรอมฏอนอันประเสริฐ
- รายละเอียด
- หมวด: อัลกุรอาน-อัลฮะดิษ
- ฮิต: 3824
เดือนรอมฎอนเป็นเดือนที่บรรยากาศของมันได้ถูกทำให้สะอาดบริสุทธิ์จากความแปดเปื้อนจากความชั่วร้ายต่างๆ ของชัยฏอน (มารร้าย) และบรรยากาศอันสูงส่งทางด้านวิญญาณของเดือนนี้ถูกทำให้เกิดพลังและความเข้มแข็ง เพื่อจะนำความเมตตาและพระกรุณาธิคุณของพระผู้เป็นเจ้ามาสู่ปวงบ่าวของพระองค์......
บทดุอาอ์หลังนมาซวาญิบในเดือนรอมฎอน
- รายละเอียด
- หมวด: อัลกุรอาน-อัลฮะดิษ
- ฮิต: 3600
ดุอาอ์บทนี้เป็นหนึ่งในดุอาอ์ที่เป็นมุสตะฮับ (ซุนัต) ให้อ่านทุกหลังนมาซวาญิบประจำวันห้าเวลา ท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อลฯ) ซึ่งท่านกล่าวว่า :"ผู้ใดที่อ่านดุอาอ์บทนี้ในเดือนรอมฎอนหลังจากนมาซวาญิบ (ฟัรฎูห้าเวลา) อัลลอฮ์จะทรงอภัยโทษบาปทั้งหลายของเขาให้แก่เขาจวบจนถึงวันกิยามะฮ์"...
รอมฎอน เดือนแห่งการกำหนดลิขิตของมนุษย์ ด้วยเมตตาของพระผู้เป็นเจ้า
- รายละเอียด
- หมวด: ครรลองจริยธรรม
- ฮิต: 2325
เดือนรอมฎอนเป็นเดือนแห่งความเมตตาที่กว้างขวางและแผ่ปกคลุมของพระผู้เป็นเจ้า ผู้ทรงสูงส่ง เดือนนี้เป็นโอกาสพิเศษและเป็นความกรุณาเฉพาะของพระผู้เป็นเจ้าที่มีต่อปวงบ่าวผู้กระทำผิดพลาดและเป็นคนบาปของพระองค์ในทั่วทุกมุมโลก ในเดือนนี้ลิขิตต่างๆ ของมนุษย์และโลกจะถูกกำหนดในเดือนนี้ .....
คุณประโยชน์ด้านการขัดเกลาจิตวิญญาณของการถือศีลอด
- รายละเอียด
- หมวด: อัลกุรอาน-อัลฮะดิษ
- ฮิต: 3114
ในความเป็นจริงแล้วการถือศีลอดนั้นคือวิธีการหนึ่งของการฝึกฝนและการขัดเกลาตน (ตัซกิยะตุนนัฟซ์) และเป็นแนวทางที่เหมาะสมสำหรับการต่อสู้กับอารมณ์ใฝ่ต่ำ การถือศีลอดเป็นปัจจัยที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับการบรรลุสู่ความสมบูรณ์ (กะมาล) และความใกล้ชิดต่อพระผู้เป็นเจ้าโดยการกำหนดให้การถือศีลอดเป็นวาญิบ (หน้าที่บังคับ)
ผลกระทบของสภาพจิตใจที่มีต่อร่างกาย ในวจนะอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.)
- รายละเอียด
- หมวด: ครรลองจริยธรรม
- ฮิต: 12670
ในการวิเคราะห์ถึงสุขภาพพลานามัยของมนุษย์ จำเป็นจะต้องพิจารณาจากสองด้าน ด้านหนึ่งคือสภาพจิตใจและจริยธรรม ส่วนด้านที่สองคือด้านของร่างกาย เรื่องของสุขภาพพลานามัยเราไม่สามารถมองดูเฉพาะด้านร่างกายเพียงอย่างเดียวเท่านั้น เพราะเราเองก็มีประสบการณ์อยู่เสมอว่า ความทุกข์กังวลของจิตใจ นอกจากจะก่อให้เกิดความบกพร่อง และความแปรปรวนทางความคิดและอารมณ์แล้ว ยังส่งผลกระทบที่เลวร้ายต่อร่างกาย และเป็นสาเหตุนำไปสู่ความเจ็บป่วยอีกด้วย
แบบอย่างแห่งการเสียสละ (อีษาร) ในอัลกุรอานและวจนะของอิสลาม
- รายละเอียด
- หมวด: อัลกุรอาน-อัลฮะดิษ
- ฮิต: 18631
คำว่า “อีษาร” (การเสียสละ) หมายถึง การให้ความสำคัญต่อผู้อื่นก่อนตนเองหรือมากกว่าตนเอง ไม่ว่าจะในเรื่องของทรัพย์สินเงินทอง วัตถุ หรือจะเป็นเรื่องของการดำเนินชีวิตก็ตาม นับได้ว่าเป็นคุณลักษณะอันสูงส่งประการหนึ่งทางด้านจริยธรรม ซึ่งได้รับการยกย่องสรรเสริญไว้อย่างมากมายในคัมภีร์อัลกุรอาน และในคำรายงาน (ริวายะฮ์) ทั้งหลาย และคุณลักษณะดังกล่าวนี้เกิดจากการที่มนุษย์ได้ขจัดความเห็นแก่ตัวให้หมดสิ้นไปจากตนเอง